Tuesday 4 October 2016

Vincenzo Peruggia

             วันนี้ ไปเจอเรื่องนี้เข้าโดยบังเอิญ  น่าสนใจมาก เพราะไม่รู้มาก่อน เลยเอามาแปลให้ฟังกัน ..อาจจะเป็นความคิดสร้างสรรค์ที่ดี เพราะ วิกิพีเดียเป็นของฟรี นักวิชาการไทยควร เก็บ เอามาแปลแบบ ผ่าตัด หรือ surgery อย่างละเอียด เพื่อให้ความรู้เรื่องศัพท์ และเพลิดเพลินไปด้วย แทนที่จะสอนกูๆกาๆ ให้ท่องศัพท์ ที่ไม่รุ็ว่าเมื่อใหร่จะได้ใช้ ถึงเวลาไปเจอเข้า ก็จําไม่ได้ แปลออกมาก็ไม่ได้ใจความ พึ่งกูเกิ๊ลทานเสลดที่อาจารย์ไทยดูแล ก็เหมือนพึ่งอาจารย์ใบ้หวย ที่ผีเข้าผีออก ถูกบ้างไม่ถูกบ้าง พาออกทะเลอันดามันไปเลยก็มีมากมาย  

..สอนท่องไวยากรณ์ กิริยาสามช่องแปดช่อง ที่ยิ่งเรียนยิ่งโง่ จบมหาลัย ก็ยังไม่รู้เรื่อง 

Vincenzo Peruggia 


(October 8, 1881 – October 8, 1925) was an Italian thief, most famous for stealing the Mona Lisa on 21 August 1911. Born in Dumenza, Varese, Italy, he died in Saint-Maur-des-Fossés, France.
Theft
In 1911 Vincenzo Peruggia perpetrated what has been described as the greatest art theft of the 20th century. It was a police theory that the former Louvre worker hid inside the museum on Sunday, August 20, knowing that the museum would be closed the following day. But according to Peruggia's interrogation in Florence after his arrest, he entered the museum on Monday, August 21 around 7 am through the door where the other Louvre workers were entering. He said he wore one of the white worker's smocks that museum employees customarily wore and was indistinguishable from the other workers. When the Salon Carré where the Mona Lisa hung was empty, he lifted off the painting off the four iron pegs that secured it to the wall and took it to a nearby service staircase. There he removed the protective case and frame. Some people report that he concealed the painting (which Leonardo painted on wood) under his smock. But Peruggia was only 5'3" and the Mona Lisa measures approx. 21" x 30", so it would not fit under a smock worn by someone the size of Peruggia. Instead, he said that he took off his smock and wrapped it around the painting, tucked it under his arm and left the Louvre through the same door he entered. [4]
Vincenzo hid the painting in his apartment in Paris.[5] Supposedly, when police arrived to search his apartment and question him, they accepted his alibi that he had been working at a different location on the day of the theft.
      After keeping the painting hidden in a trunk in his apartment for two years, Peruggia returned to Italy with it. He kept it in his apartment in Florence but grew impatient and was finally caught when he contacted Alfredo Geri, the owner of an art gallery in Florence, Italy. Geri's story conflicts with Peruggia's, but it was clear that Peruggia expected a reward for returning the painting to what he regarded as its "homeland." Geri called in Giovanni Poggi, director of the Uffizi Gallery, who authenticated the painting. Poggi and Geri, after taking the painting for "safekeeping," informed the police, who arrested Peruggia at his hotel.
After its theft, the painting was exhibited all over Italy with banner headlines rejoicing its return and then returned to the Louvre in 1913. Peruggia was released from jail after a short time and served in the Italian army during World War I. He later married and had one daughter Celestina. He returned to France and continued to work as a painter decorator using his birth name Pietro Peruggia. He died on October 8, 1925 (his 44th birthday) in the town of Saint-Maur-des-Fossés, France. His death was not widely reported on by the media, with obituaries appearing mistakenly only when another Vincenzo Peruggia died in Haute-Savoie in 1947.

Motivations 

There are currently two predominant theories regarding the theft of the Mona Lisa.
Peruggia said he did it for a patriotic reason: he wanted to bring the painting back for display in Italy  "after it was stolen by Napoleon". Although perhaps sincere in his motive, Vincenzo may not have known that Leonardo da Vinci took this painting as a gift for Francis I when he moved to France to become a painter in his court during the 16th century, 250 years before Napoleon's birth.
Experts have also questioned the "patriotism" motive on the grounds that—were patriotism the true motive—Peruggia would have donated the painting to an Italian museum, rather than attempt to profit from its sale. The question of money is also confirmed by letters that Peruggia sent to his father after the theft. One December 22, 1911, four months after the theft, he wrote that Paris was where "I will make my fortune and that his (fortune) will arrive in one shot."  The following year (1912), he wrote "I am making a vow for you to live long and enjoy the prize that your son is about to realize for you and for all our family."
Put on trial, the court agreed to some extent that Peruggia committed his crime for patriotic reasons and gave him a lenient sentence. He was sent to jail for one year and fifteen days, but was hailed as a great patriot in Italy and served only seven months in jail.
Another theory emerged later. The theft may have been encouraged or masterminded by Eduardo de Valfierno, a con-man who had commissioned the French art forger Yves Chaudron to make copies of the painting so he could sell them as the missing original. The copies would have gone up in value if the original was stolen. This theory is based entirely on an article by former Hearst journalist Karl Decker in The Saturday Evening Post in 1932. Decker claimed to have known "Valfierno" and heard the story from him in 1913, promising not to print it until he learned of Valfierno's death. There is no external confirmation for this tale.
.....................................

Vincenzo Peruggia  วินเซ็นโซ่ เปอร์รุกเชีย


(October 8, 1881 – October 8, 1925) มีอายุอยู่ระหว่างวันที่แปดเดือนตุลา ปี 1881 ถึง วันที่แปดเดือนตุลา 1925 
was an Italian thief, เป็นขโมยชาวอิตาลี่
most famous มีชื่อเสียงโด่งดังที่สุด
for stealing ในเรื่องขโมย
the Mona Lisa ภาพเขียนโมนาลิซ่า
on 21 August 1911. ในวันที่ 21 เดือนสิงหาคม 1911 
Born in Dumenza, Varese, เกิดที่ ดูเมนซ่า วาเรส
Italy, อิตาลี่ 
he died เขาตาย
 in Saint-Maur-des-Fossés, ที่เมือง ซังมอ ดี ฟอเซ่
 France. ประเทศฝรั่งเศส 
Theft  ผลงานการขโมย ( นี่คือตัวอย่างของการวางยาเรื่อง กิริยาสามช่อง thief ตี๊ฟ คือขโมย ส่วน  theft เต๊ฟ แปลว่าการขโมย ไม่เกี่ยวกับ tense เทนส์ อะไรเลย ถ้าขืนเรียนกิริยาสามช่อง โอกาศที่เข้าใจภาษาอังกฤษไม่มีเลย เพราะมันไม่ใช่คําเดียวกัน มันคนละคํา คนละความหมาย ยกตัวอย่างเช่น go แปลว่าไปเฉยๆ  went ไปมาแล้ว  gone ไปแล้วไปลับ แปลว่าตายก็ได้ หายไปก็ได้  
        การเรียนภาษาอังกฤษ ต้องพูดได้อย่างถูกต้องก่อน เมื่อโตแล้วจึงค่อยเรียนไวยากรณ์ ถ้าเด็กไทยต้องเรียนไวยากรณ์ก่อนว่าคําใหนคือคําเป็นคําใหนคือคําตาย เหมือนว่าเอากับดักไปใส่ในสมอง.คิดว่าโตเป็นผู้ใหญ่ก็ยังคงพูดภาษาไทยไม่ได้  เหมือนภาษาอังกฤษ ..ปัญหามีอยู่ว่าจะทําอย่างไรเท่านั้น )
In 1911 ในปี 1911
Vincenzo Peruggia วินเซ็นโซ่ เปอร์รุกเกีย
perpetrated อ่านว่า เพอเพ็ตเตรเต๊ด แปลว่า ได้ก่ออาชญากรรมหรือ = committed crime
what has been described ที่เรียกได้ว่า 
as เป็น
the greatest มโหฬารพันลึกที่สุด
art theft ของการขโมยงานศิลป
 of the 20th century.แห่งศตวรรษที่ 20
 It was มันเป็น
a police theory รายงานทางทฤษฏีของตํารวจ
that the former ว่าอดีต
Louvre worker พนักงานของ 

พิพิธภัณฑ์ลู๊ฟ

 hid แอบซ่อน
 inside ใน พิพิธภัณฑ์
 on Sunday, ในวันอาทิตย์
August 20, 20 สิงหาคม
knowing that รู้อยู่ว่า
the museum พิพิธภัณฑ์
 would be closed จะต้องปิด
 the following day. ในวันต่อมาหรือวันรุ่งขึ้น
But according to แต่ว่าตามทาง
 Peruggia's interrogation สืบสวนสอบสวนเปอรฺรุกเกีย (ที่เปอร์รุกเกียให้การ )
in Florence ที่เมืองฟลอเร๊นซ์ 
after his arrest หลังจากที่เขาโดนจับ
  he entered เขาได้เข้าไปใน
the museum 

พิพิธภัณฑ์นี้

on Monday, ในวันจันทร์
August 21 ที่ 21 สิงหาคม
around 7 am ประมาณเจ็ดโมงเช้า
through the door โดยผ่านทางประตู
where ที่ซึ่ง
the other Louvre workers คนงาน

พิพิธภัณฑ์ลู๊ฟคนอื่นๆ

were entering. เข้าไปกัน
 He said เขาบอกว่า
he wore เขาใส่
one of the white ชุดขาว
 worker's smocks ที่คนงานใส่ทํางาน
smocks ดูรูป 


)
that museum employees customarily wore 
เป็นชุดเครื่องแบบของพนักงานพิพิธภัณฑ์แห่งนั้น

and และ
was indistinguishable ดูแล้วแยกไม่ออก
from the other workers. จากคนงานอื่นๆ
When เมื่อ 
the Salon Carré ซาลอน คาเร่ ดูรูป





where ที่ซึ่ง
the Mona Lisa hung ภาพโมนาลิซ่า แขวนอยู่
was empty, ไม่มีคนเหลืออยู่อีกแล้ว
he lifted off เขาก็ยก
the painting off ภาพเขียนออกจาก
the four iron pegs หมุดทั้งสี่
that secured it ที่ยึดภาพนี้
 to the wall ติดกับฝาผนัง
and took it และก็พาภาพ
to a nearby service staircase.ไปยังบันไดของพนักงานที่ใกล้ที่สุด
 There ที่นั่น
he removed the protective case and frame เขาถอดกล่องป้องกันภาพเขียน และกรอบออก
. Some people report that มีคนบางคนบอกว่า
 he concealed เขาซ่อน
the painting ภาพเขียนนี้
(which Leonardo painted on wood เป็นภาพเขียนที่ลีโอนาโด้ เขียนบนแผ่นไม้ ) 
under his smock. ในเสื้อชุดทํางานของเขา
 But Peruggia 
แต่ว่า เปอร์รุกเกีย 
was only 5'3" สูงเพียงแค่ ห้าฟุตสามนิ้วเท่านั้น
and the Mona Lisa ส่วนโมนาลิซ่า
measures approx.วัดคร่าวๆได้ประมาณ
 21" x 30", ยี่สิบเอ็ดนิ้วคูณสามสิบนิ้ว
so ด้วยเหตุนี้
it would not fit มันจะใส่เข้าไปไม่ได้
 under a smock ภายใต้เสื้อสม๊อค
worn by ที่สวมใส่โดย
someone the size of Peruggia. ใครก็ตามที่มีขนาดเท่ากับเปอร์รุกเกีย
Instead, แต่มันกลายเป็นว่า
he said that เขาบอกว่า
he took off his smock เขาถอดเสื้อสม๊อคออก
and wrapped it แล้วก็พันมัน
around the painting,รอบๆภาพเขียน
 tucked it ยัดมัน
under his arm ใต้รักแร้
and left the Louvre และก็ออกจากพิพิธภัณฑ์ลู๊ฟ
 through โดยผ่านทาง
the same door ประตูอันเดียวกัน
he entered. ที่เขาเข้าไป
Vincenzo วินเซ็นโซ่
hid ซ่อน
the painting ภาพเขียน
in his apartment ในอพาร์ตเม๊นต์ของเขา
 in Paris. ในปาร์รีส
 Supposedly, สมมุติว่า
when police arrived มีตํารวจมา
to search ค้น
his apartment อพาร์ตเม๊นต์ของเขา
and question him, แล้วก็สอบสวนเขา
 they accepted ตํารวจจะต้องยอมรับ
his alibi ประเด็นข้ออ้างต่างสถานที่
alibi แอไลบาย สู้คดี โดยอ้างว่าไม่ได้อยู่ในที่เกิดเหตุ)
that ว่า
he had been working เขากําลังทํางาน
 at a different location ที่อื่น
on the day of the theft. ในวันที่มีการโจรกรรม
      After keeping the painting หลังจากเก็บภาพเขียน 
 hidden ซ่อนไว้
in a trunk ในหีบไม้
in his apartment ในอพาร์ตเม๊นต์ของเขา
for two years, เป็นเวลาสองปี
Peruggia เปอร์รุกเกีย
returned to Italy เดินทางกลับอิตาลี่
with it. พร้อมกับภาพเขียน
He kept it เขาเก็บมันไว้
in his apartment ในอพาร์เม๊นต์ของเขา
 in Florence ในเมืองฟลอเร๊นซ์
but แต่ทว่า
grew impatient เริ่มจะใจร้อนขึ้นเรื่อยๆ
and was finally และสุดท้าย
 caught ก็โดนจับ
when he contacted เมื่อเขาติดต่อกับ
Alfredo Geri, อันเฟรโด้ เกอรรี่
the owner of เจ้าของ
an art gallery อาร์ตแกลลอรี่ แห่งหนึ่ง
 in Florence,ในเมืองฟลอเร๊นซ์ 
 Italy. อิตาลี่ 
Geri's story เรื่องเล่าของเกอร์รี่
conflicts with ขัดแย้งกับ
 Peruggia's, ของเปอร์รุกเกีย
but แต่ว่า
it was clear that มันก็ยืนยันชัดแจ้งว่า
Peruggia เปอร์รุกเกีย
expected a reward หวังว่าจะได้รางวัล
 for returning the painting สําหรับการเอาภาพเขียนกลับ
 to what he regarded มายังที่ๆที่เขาถือว่า
as its มันคือ 
"homeland." แผ่นดินเกิด
Geri called in เกอรรี่ ได้แจ้งไปยัง
Giovanni Poggi, กิโอวานนี่ ป๊อกกี้
director of ผู้อํานวยการของ
the Uffizi Gallery, อัฟฟิซี่ แกลลอรี่
Uffizi Gallery เป็นพิพิธภัณฑ์ชื่อดังในเมืองฟลอเร๊นซ์ ) 
who ผู้ซึ่ง
authenticated ตรวจสอบและพิสูจน์รับรองของแท้
the painting. ของภาพเขียนนี้
 Poggi and Geri, ปํอกกี้ และเกอรรี่ 
after taking หลังจากพิสูจน์แล้วก็นํา
the painting for ภาพเขียนไปเพื่อ
"safekeeping," เก็บรักษาเพื่อความปลอดภัย
 informed the police, แจ้งตํารวจ
who arrested ผู้ซึ่งทําการจับกุม
Peruggia เปอร์รุกเกีย
at his hotel. ได้ทีโรงแรมที่เขาพักอาศัยอยู่
After its theft, หลังจากโดนโจรกรรมมา
the painting ภาพเขียนนี้
was exhibited ได้ถูกนําออกแสดง
 all over Italy ไปทั่วประเทศอิตาลี่
with banner headlines ติดป้ายใหญ่โต
 rejoicing เฮฮาปารตี้รื่นเริง
its return การกลับคืนสู่เหย้า
and then และหลังจากนั้นก็
returned to the Louvre กลับคืนสู่

พิพิธภัณฑ์ลู๊ฟ

in 1913. ในปี 1913
Peruggia เปอร์รุกเกีย
was released from jail ได้พ้นโทษออกมา
after a short time หลังจากติดคุกไม่นานนัก
and served และสมัครเข้าเป็น
in the Italian army ทหารในกองทัพบกอิตาลี่
during World War I. ระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
He later married หลังจากนั้นก็แต่งงาน
and had one daughter และก็มีลูกสาวคนหนึ่งชื่อ 
Celestina. เซเลสติน่า
He returned to France และก็กลับไปฝรั่งเศส
 and continued to work และก็ยังคงทํางาน
as a painter decorator เป็นช่างเขียนภาพตกแต่ง
 using his birth name ใช้ชื่อตอนแรกเกิด
 Pietro Peruggia. ปีโตร เปอร์รุกเกีย
He died เขาตาย
on October 8, 1925 เมื่อวันที่แปดเดือนตุลา1925
(his 44th birthday) ตอนอายุสี่สิบสี่ปี
 in the town
ในเมือง of Saint-Maur-des-Fossés, เซ๊นต์มอร์ ดิ ฟองเซ่
France. ประเทศฝรั่งเศส
 His death การตายของเขา
was not ไม่ได้
widely reported เป็นข่าวใหญ่อะไร
on by the media, บนหน้าหนังสือพิมพ์
with (มีแค่)ไปเกี่ยวกับ
obituaries ข่าวการตาย
appearing ที่ไปปรากฏ
 mistakenly only อย่างสับสนเพียงแค่
when เมื่อ
another Vincenzo Peruggia วินเซ็นโซ่ เปอร์รุกเกียอีกคนหนึ่ง
died ตาย
in Haute-Savoie ที่ อู๊ต ซาวัว
in 1947. ในปี 1947

Motivations แรงบันดาลใจหรือเหตุจูงใจ

There are currently ทุกวันนี้มี
 two predominant theories ทฤษฏี ที่แจ่มแจ้งแดงแจ๋สองเรื่อง
regarding ที่เกี่ยวกับ
the theft การโจรกรรม
 of the Mona Lisa. โมนาลิซ่า
Peruggia เปอร์รุกเกีย
said บอกว่า
he did it เขาทําไป
for a patriotic reason: ด้วยเหตุผลของความรักชาติ ( โกงแต่รักชาติ ขโมยเพื่อชาติ อิตาลี่คือชนชาติที่พลิกลิ้นเก่งเป็นอันดับสองของโลก)
 he wanted เขาต้องการ
to bring ที่จะนํา
the painting ภาพเขียนนั้น
back กลับคืนมา
for display in Italy  เพื่อเอามาตั้งแสดงในอิตาลี่
"after 
หลังจาก
it was stolen มันถูกขโมยไป
by Napoleon". โดยนโปเลียน
Although แม้ว่า
perhaps sincere บางทีอาจจะจริงใจ
 in his motive, ในแรงบันดาลใจของเขา
 Vincenzo วินเซ็นโซ่
 may not have known that น่าจะไม่รู้ว่า
 Leonardo da Vinci ลีโอนาโด้ ดาวินซี
took this painting ได้นําภาพเขียนของเขา
as a gift for ไปมอบเป็นของขวัญสําหรับ
Francis I พระเจ้าฟรานซิสที่หนึ่ง
when he moved to เมื่อเขาย้ายไป
France ฝรั่งเศส
to become a painter ไปเป็นช่างเขียนภาพ
in his court ในราชสํานักของพระเจ้าฟรานซิสที่หนึ่ง 
during ระหว่าง 
the 16th century, ศตวรรษที่สิบหก
250 years สองร้อยห้าสิบปี
before ก่อน
Napoleon's birth. นโปเลียนเกิด
Experts ผู้เชี่ยวชาญ
have also questioned ได้ตั้งคําถามด้วยเหมือนกันว่า
the "patriotism" motive แรงบันดาลใจเกี่ยวกับความรักชาติ (จนนํ้าลายใหล )
on the grounds บนพื้นฐาน
 that —were patriotism ที่ว่าเป็นความรักชาติ
the true motive อันเป็นแรงบันดาลใจของจริง
—Peruggia เปอร์รุกเกีย
would have จะต้อง
donated บริจาค
the painting ภาพเขียนนั้น
to ให้กับ
an Italian museum, พิพิธภัณฑ์แห่งใดแห่งหนึ่งในอิตาลี่
 rather than แทนที่จะ
attempt พยายาม
to profit หากําไร
from its sale. จากการขายมัน
 The question คําถาม
of money เกี่ยวกับเรื่องเงิน
is also confirmed ได้ถูกยืนยันด้วยเหมือนกัน
by letters โดยจดหมาย
that Peruggia ที่เปอร์รุกเกีย
sent to ส่งไปให้
 his father พ่อของเขา
after the theft. หลังจากทําการโจรกรรมแล้ว
 On December 22, 1911, ในวันที่ 22, ธันวาคม ปี 1911
 four months สี่เดือน
after the theft, หลังจากโจรกรรม
he wrote that เขาเขียนว่า
Paris was where กรุงปารีสคือที่ซึ่ง
 "I will make my fortune จะทําให้ผมรํ่ารวย
and that และนั่น
his (fortune) ความรํ่ารวยของเขา
will arrive in one shot." จะมาจากการเสี่ยงเพียงครั้งเดียว
 The following year (1912), ปีต่อมา(1912)
he wrote เขาเขียน( จดหมาย)
"I am making a vow ผมให้สัญญา
 for you to live long กับคุณพ่อว่าขอให้มีอายุยืนยาว
and และ 
enjoy the prize และมีความสุขกับรางวัลชีวิต
 that ที่
your son ลูกชายของพ่อ
 is about to ที่กําลังจะ
 realize ทําให้มันเป็นจริง
for you สําหรับพ่อ
and for all our family." และสําหรับครอบครัวเราทุกคน
Put on trial, โดนส่งขึ้นศาล
the court ศาล
agreed ยอมรับ
to some extent อย่างใจดีเหลือหลาย
agreed to some extent วลีนี้ ใช้กันมาก หมายความว่า การยอมรับแบบง่ายๆ เรื่องที่ไม่น่าเชื่อก็เชื่อ ประมาณนั้น )
 that ว่า
Peruggia เปอร์รุกเกีย
committed his crime ก่ออาชญากรรมของเขา
 for patriotic reasons ด้วยเหตุผลของความรักชาติ 
and gave him a lenient sentence. แล้วก็ตัดสินลงโทษแบบแผ่วเบา
(lenient sentence ลีเนี่ยน เซนเทนส์ แปลว่าลงโทษแบบเบาๆ)

 He was sent to jail เขาถูกส่งเข้าคุก
for one year หนึ่งปี
and fifteen days,กับสิบห้าวัน
 but แต่ว่า
was hailed ได้รับการยกย่องว่า
as a great patriot เป็นผู้รักชาติที่ยิ่งใหญ่
 in Italy 
ในอิตาลี่ 
and served และก็ติด
 only เพียงแค่
seven months เจ็ดเดือน
 in jail.ในคุก
Another theory ทฤษฏีอื่น
emerged later.ที่เกิดขึ้นตามมา
 The theft การโจรกรรม
may have been น่าจะเกิดจาก
encouraged การสนับสนุนยุยง
or masterminded หรือวางแผน
by Eduardo de Valfierno, โดย อาควาโด้ เดอร์ วาลฟีโน่
a con-man นักต้มตุ๋น
who ผู้ซึ่ง
had commissioned ได้จ่ายเงินส่วนแบ่งให้
 the French art forger นักปลอมแปลงงานศิลป
 Yves Chaudron  เหยี่ย ชอลดรอน หรือ ยิบ ชอลดรอนในสําเนียงอเมริกัน 
to make copies of the painting ให้ทําภาพของปลอมขึ้นมาแยะๆ

so he could sell them เพื่อที่เขาจะได้ขายมัน
as the missing original.ว่าเป็นของแท้ที่หายไป 
The copies ของปลอมลอกเลียนแบบ
would have จะ
gone up in value มีราคาสูงขึ้น
if ถ้าหาก
the original ของแท้
was stolen. ได้ถูกขโมยไป
This theory ทฤษฏีนี้
is based entirely คือทฤษฏีที่มีพื้นฐานทั้งหมดมาจาก
on an article เรื่องราวที่เขียนขึ้น
 by โดย
former Hearst journalist อดีตนักเขียนของนิตยสาร เฮิ๊สท์
 Karl Decker ชื่อคาร์ล เด๊คเกอร์
in ใน
The Saturday Evening Post ในหนังสือพิมพ์ Saturday Evening Post
in 1932. ในปี 1932
Decker เด๊กเกอร์
claimed ยืนยันว่า
to have known รู้จักกับ
"Valfierno" วาลฟรีโน่
and heard และได้ยิน
the story เรื่องราว
from him จากเขา
in 1913, ในปี 1913
promising โดยให้สัญญาว่า
not to print it จะไม่พิมพ์เผยแพร่มัน
 until จนกว่า
he learned เขารู้ข่าว
of Valfierno's death. การตายของวาลฟรีโน่
 There is no ไม่ปรากฏว่ามี
 external confirmation การยืนยันตรวจสอบว่าจริงจากคนอื่น
for this tale.สําหรับเรื่องนี้
.....................................

 





 



No comments:

Post a Comment